วันอังคารที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2558

บทที่4การเคลื่อนที่

      การเคลื่อนที่ผสมระหว่างในแนวราบ ซึ่งเคลื่อนที่ด้วย ความเร็วคงที่ กับแนวดิ่งซึ่งเคลื่อนที่แบบอิสระโดยมี ความเร่ง g = 10 m/s2 1. ในแนวดิ่ง (แกน y ) ระยะที่ขึ้นได้สูงสุด 2. ในแนวราบ (แกน x ) S = ut ระยะที่เคลื่อนที่ได้ตามแนวแกน เวลาทั้งหมดในการเคลื่อนที่ ความเร็วของวัตถุที่ตำแหน่งใด ๆอ่านต่อ


บทที่3เเรงและกฎการเคลื่อนที่

         หากพิจารณาวัตถุสสารใด ๆ จะเห็นว่า บางวัตถุมีความหนาแน่น ของ เนื้อ วัตถุ มาก เช่น เหล็ก หิน บางวัตถุมีความหนาแน่นน้อย เช่น โฟม พลาสติก ทำให้มีน้ำหนักเบา

         มวลสาร (Mass) จึงเป็นปริมาณที่จะบอกคุณสมบัติของวัตถุ และถ้ามีแรงมากระทำต่อวัตถุพื้นก็จะเกิดสภาพการต่อต้านสภาวะการเคลื่อนที่ เช่น ถ้าออกแรงผลักวัตถุที่มีมวลสารหนาแน่นก็ต้องออกแรงมาก อ่านต่อ

บทที่2การเคลื่อนที่แนวตรง

          
   ในขณะที่วัตถุมีการเคลื่อนที่  ได้ระยะทางและการกระจัดในเวลาเดียวกัน  และต้องใช้เวลาในการเคลื่อนที่  จึงทำให้เกิดปริมาณสัมพันธขึ้น  ปริมาณดังกล่าวคือ
        อัตราเร็ว  คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา จัดเป็นเปริมาณสเกลลาร์ หน่วยในระบบเอสไอ มีหน่วยเป็น เมตร/วินาที
         ความเร็ว คือ ขนาดของการกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา จัดเป็นปริมาณเวกเตอร์ ใช้หน่วยเดียวกับอัตราเร็ว  อ่านต่อ
  ฟิสิกส์(physics)มาจากภาษากรีกที่มีความหมายว่า"ธรรมชาติ"ดังนั้นฟิสิกส์จึงควรจะหมายถึงเรื่องราวที่เกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติทั้งหลายและมีความหมาย เช่นนั้น ในสมัยก่อนซึ่งบางครั้งอาจเรียกว่า"ปรัชญาธรรมชาติ"ปัจจบันความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติได้ขยายขึ้นอย่างมากทั้งในเชิงรายละเอียดเเละสาขาของความรู้ โดยเฉพาะความรู้ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์จึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของวิทยาศาสตร์ (science) วิทยาศาสตร์โดยทั่วไปจะหมายถึงวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (natural science).....อ่านต่อ